วันอังคารที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
CHAPTER 9 : E-Government
ประวัติความเป็นมา
-การก้าวไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และการให้บริการของภาครัฐเพือให้มีประสิทธิภาพดีขึ้นกวาเดิมจะเห็นได้ว่าประเทศต่่าง ๆ ทัวโลกต่างก็ให้ความสําคัญกบการกัาวไปสู้่การเป็นรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์และมีการประกาศนโยบายในเรื่องนี้อย่างเป็นทางการตัวอย่างเช่น สหราชอาณาจักรประกาศวาภายในปีค่ 2005 ไม่ว่าจะเข้าจากที่รบริการของภาครัฐทุกอย่างจะทําผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์ ในขณะที + สิงคโปร์เองก็ประกาศว่าภายในปี ค.ศ. 2001 เคาน์เตอร์บริการของรัฐ 100% จะเป็นการให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ออสเตรเลียระบุว่ารัฐจะให้บริการที เหมาะสมผ่านสืออิเล็กทรอนิกส์อันหมายถึงผ่านทางอินเทอร์เน็ตภายในปี ค.ศ. 2001 ส่วนแคนาดามีเป้าหมายว่าบริการของรัฐทุกอยางจะเป็นแบบ่ออนไลน์ภายในปี ค.ศ.2004 ่่อนในปี ค.ศ. 2000 สําหรับเนเธอร์แลนด์มีเป้าหมายว่า 20%
หลักของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์จะเป็นแบบ G2G G2B และ G2Cระบบต้องมีความมันคงปลอดภัยเพือแลกเปลียนข้อมูลระหว่างหน่่วยงานของรัฐประชาชนอุ่นใจในการรับบริการและชําระเงินค่าบริการธุรกิจก็สามารถดําเนินการค้าขายกบหนั่วยงานของรัฐด้วยอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ทีสําคัญในการให้บริการตามแนวทางรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
B2C ภาคธุรกิจสู่ผู้บริโภค (ธุรกิจกับผู้บริโภค)
B2B ภาคธุรกิจสู่ภาคธุรกิจ (ธุรกิจต่อธุรกิจ)
G2G ภาครัฐสู่ภาครัฐด้วยกัน (รัฐบาลกับรัฐบาล)
G2C ภาครัฐสู่ประชาชน (รัฐบาลประชาชน)
G2B ภาครัฐสู่ภาคธุรกิจ (รัฐบาลธุรกิจ)
G2E (รัฐบาล Employee)
1. รัฐกบัประชาชน (G2C)
เป็นโดยที + บริการดังกล่าวประชาชนจะสามารถดําเนินธุรกรรมโดยผานเครือข่ายสารสนเทศของรัฐเช่นการชําระภาษีการจดทะเบียนการจ่ายค่าปรับการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนการมีปฏิสัมพันธ์ระหวางตัวแทนประชาชนกันที่ดําเนินการให้บริการข้อมูลผานเว็บไซต์ เป็นต้นโดยที การดําเนินการต่่าง ๆ นั้น
จะต้องเป็นการทํางานแบบออนไลน์และ Real Time มีการรับรองและการโต้ตอบที มีปฏิสัมพันธ์
2. รัฐกบัเอกชน (G2B)
เป็นการให้บริการขภาคธุรกิจเอกชนโดยทีรัฐจะอํานวยความสะดวกต่อภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมให้สามารถแข่งขันกนโดยความเร็วสูงมีประสิทธิภาพและมีข้อมูลที + ถูกต้องอยางเป็นธรรมและโปร่่งใสเช่นการจดทะเบียนทางการค้าการลงทุนและการส่งเสริมการลงทุนการจัดซื 8 อจัดจ้างทาง
อิเล็กทรอนิกส์การส่งออกและนําเข้าการชําระภาษีและการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและเล็ก
3. รัฐกบัรัฐ (G2G)
เป็นที่การติดต่อสื + อสารระหวางก่นโดยกระดาษและลายเซ็นต์ในระบบเดิมในระบบราชการเดิม จะมีการเปลี+ยนแปลงไปด้วยการใช้ระบบเครือข่ายสารสนเทศและลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นทางการเพื่อเพิ่มความเร็วในการดําเนินการ (เศรษฐกิจ Speed) นอกจากนั้นยังเป็นการบูรณาการการให้บริการระหวางหน่ ่ววยงานภาครัฐโดยการใช้การเชื่อมต่อโครงข่ายสารสนเทศเพื่อเอื่อให้เกิดการทํางานร่วมกัน(Collaboration) และการแลกเปลียนข้อมูลระหวางก่นั (รัฐบาลข้อมูล EXCHAN)ทั้งนี้รวมไปถึงการเชื่อมโยงกบรัฐบาลของต่างชาติและองค์กรปกครองท้องถิ่นอีกด้วยระบบงานต่าง ๆ ที่ ใช้ในเรืองนี้ ได้แก่ ระบบงานกลับสำนักงานต่าง ๆ ได้แก่ ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ระบบบัญชีและการเงินระบบจัดซื8อจัดจ้างด้วยอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้นอยางไรก่็ดี จะต้องมีกระบวนการในการลดแรงต่อต้าน
ของบุคลากรที้คุ้นเคยกบการทํางานในระบบเดิม
4. รัฐกบัข้าราชการและพนักงานของรัฐ (G2E)
เป็นการให้บริการที + จําเป็นของพนักงานของรัฐ (Employee) กบรัฐบาลโดยที่จะสร้างระบบเพื่อช่วยให้เกิดเครื่องมือที่จําเป็นในการปฏิบัติงานและการดํารงชีวิตเช่นระบบสวัสดิการระบบที่ปรึกษาทางกฎหมายและข้อบังคับในการปฏิบัติราชการระบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐเป็นต้น
7. ตัวอยางโครงการ ค.ศ. 2002 สหรัฐอเมริกาซึ + งถือเป็นผู้นําด้านเทคโนโลยีเองก็กาหนดํ
เป้าหมายไว้ว่าจะให้บริการต่างๆและบริการด้านข้อมูลของภาครัฐผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ภายในปี ค.ศ. 2003 แต่ประเทศซึ่งจากกาหนดไว้ว่าในช่วงสิ้นปี ค.ศ. 2000 นี้ ประชาชนจะสามารถเข้าถึงบริการและเอกสารของรัฐได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ คือประเทศฝรั้งเศส
สําหรับประเทศไทย ในเรื่องการบริหารและการบริการของรัฐแก่ประชาชนมีการ
กล่าวถึงตั้งแต่ในกฎหมายสูงสุดของประเทศคือรัฐธรรมนูญฯ ในมาตรา 78 หรือ
แผนสภาพัฒน์ฯ ฉบับที่ ระหว่างหน่วยงานของรัฐกบภาคเอกชนนอกจากนี้ในแผนไอทีแห่งชาติเองก็
ระบุวาหน่่วยงานของรัฐต้องลงทุนให้พร้อมด้วยไอทีและบุคลากรที่ มีศักยภาพในการใช้ไอทีในแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐก็ได้กาหนดกํ ิจกรรมหนึ่งที่ทุกส่วนราชการต้องดําเนินการไว้ในแผนหลัก
เกี่ยวกบการปรับเปลี่ยนบทบาทภารกัิจและวิธีการบริหารของภาครัฐวาการพัฒนา่ให้มีระบบสารสนเทศของหน่วยงานกลางในภาครัฐ ตลอดจนนําเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ เหมาะสมมาใช้เพือเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานภาครัฐและการให้บริการแก่ประชาชนจะเห็นวาในระดับนโยบายนั่นมีการให้ความสําคัญในเรื่องนี้มาโดยตลอด
ความหมายรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์หรือรัฐอิเล็กทรอนิกส์ประกอบด้วยหลักการที่เป็นแนวทาง 4 ประการคือ
1.สร้างบริการตามความต้องการของประชาชน
2.ทําให้รัฐและการบริการของรัฐเข้าถึงได้มากขึ้น
3.เกิดประโยชน์แก่สังคมโดยทัวกัน
4.มีการใช้สารสนเทศที่ดีกวาเดิม
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น